The Baba traditional wedding

The Baba traditional wedding ceremony of the “Punte” group (Chinese people in Phuket) has been passed down for many centuries, although some steps may have been simplified for convenience. However, every family tries to preserve the auspicious traditions to ensure good luck and a prosperous future for the bride, groom, and their families. In the […]

Kal, GPA 3.04

Kal, GPA 3.04: After we decided to move her father from the community hospital to Vachira Phuket Hospital in the city, he had a successful cataract surgery. He can now see his daughter’s face more clearly. That is probably the best thing a father could hope for. But the best was yet to come as […]

พิธีแต่งงานชาวบาบ๋า จากภาพบรรยากาศงานแต่ง

พิธีแต่งงานชาวบาบ๋า งานแต่งบาบ๋าของชาวปุ้นเต่ (ชาวจีนในภูเก็ต) ถึงแม้จะผ่านมาหลายร้อยปี และบางขั้นตอนอาจถูกลดทอนไปบ้างเพื่อความสะดวก แต่ทุกครอบครัวก็พยายามรักษาต่อยอดประเพณีมงคลให้เพ้ะ (เหนียวแน่น ) เพราะเชื่อว่าทำดีเป่งอ้าน (โชคลาภ) มีแต่จะส่งผลดีต่ออนาคตของบ่าวสาวและคนในครอบครัว ในปัจจุบันก็รวบมาเหลือประมาณ 2-3 วัน คือวันหนมสด (ขนมสด) วันแต่ง ผั่งเต๋ (พิธียกนำ้ชา) และวันจัดเลี้ยงโต้ะจีน ซึ่ง 2 กิจกรรมหลังก็นิยมทำภายในวันเดียวคือแต่งเช้า เลี้ยงเที่ยงหรือเย็นไปเลย วันหนมสดคือญาติสนิทและเพื่อนๆ จะมาที่บ้านงานฝ่ายเจ้าสาว ช่วยกันจัดบ้าน ทำกับข้าว ขนม เตรียมความพร้อมรับเจ้าบ่าวในวันแต่งถัดมา สมัยก่อนแต่งกัน 7 วัน 7 คืน เพราะถือว่าเป็นงานมหารวย ฉลองการควบรวม 2 ครอบครัวให้เป็นทองแผ่นเดียวกัน หลายๆ บ้านถือว่าเป็นการต้าวถาว (แมทชิ่ง คลุมถุงชน) เพื่อความเจริญทางธุรกิจ เช่น บ้านทำธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จะนิยมแต่งกับบ้านขายเครื่องมือก่อสร้าง เป็นต้น พิธีแต่งงานจะเริ่มจากการจุดลูกทัด (ประทัด) ให้ทั้งเทดา (เทวดา) คนร่วมงานและคนละแวกบ้านงานได้รู้ถึงการเริ่มต้นพิธีงานแต่ง ไหว้เทดาก่อนเพื่อน (เป็นอย่างแรก) บ้านแค่เพ้ะมากๆ […]

น้องกาล ได้เกรด 3.94

หลังจากที่เราตัดสินใจย้ายพ่อจากโรงพยาบาลชุมชน ไปโรงพยาบาลวชิระภูเก็ตในเมือง พ่อผ่าตัดต้อกระจกอาทิตย์ที่แล้ว ผ่านไปด้วยดีเริ่มมองเห็นเลือนลางและสามารถเห็นหน้าลูกสาวได้ชัดขึ้น นั่นคงเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่คนเป็นพ่อหวังจะได้เห็น แต่วันนี้สิ่งที่ดีกว่านั้นก็คือใบเกรดของลูกสาว 3.94 เราคิดว่าต่อให้พ่อจะมองไม่เห็นอีกแล้ว แต่ที่แน่ๆ คือพ่อจะเห็นอนาคตของลูกสาว ที่มูลนิธิบ้านอาจ้อจะประคองและพาเดินต่อไปให้มีอนาคตที่ดีแน่ๆ . ด้วยสภาพแวดล้อมที่บ้านของน้องนั้นไม่มีจุดไหนเลยที่เอื้อกับบรรยากาศให้เรียนได้ง่าย บ้านที่พอจะเป็นแค่ที่กันแดดกันฝนได้แค่เท่านั้น จึงเหลือเชื่อว่าน้องกาลยังสามารถทำเกรดได้สูงขนาดนี้ . แต่วันนี้หนูได้ทำสิ่งที่เป็นสะพานต่อยอดในอนาคตของหนู ก้าวไปอีกขั้นแล้วนะ และก้าวต่อไปอีกอนาคตต้องสดใสแน่นอน

โปรดช่วยผมกับลูกอีกสักครั้ง

โปรดช่วยผมกับลูกอีกสักครั้งนะครับ’
เสียงปลายสายที่แผ่วจนรู้สึกถึงความหมดหวังขอผู้เป็นพ่อและเป็นเสาหลักของเมียและลูกที่โทรมาหาเรา

บ้านอาจ้อสวดมนต์ให้พ่อนะ ขอให้การตัดต้อหินวันนี้ผ่านไปด้วยดี หมอบอกว่าผ่าเถอะ
มัน 50:50 เลือนลางหรือบอด แต่ก็ดีกว่ารอให้ไม่เห็นเลย

Please help me and my daughter one more time

“Please help me and my daughter one more time” was what we heard in a frailing voice on the phone from a man with glaucoma. His eye problem disables him from working while he has a wife and a daughter whose lives depend on his earning. Baan Ar-Jor Foundation มูลนิธิบ้านอาจ้อ has been helping this family since […]

วิชัย ตะการกิจ (หนุ่ม) ประธานศูนย์อนุรักษ์สัตว์ทะเลหายาก

คุณวิชัยเป็นประธานศูนย์อนุรักษ์สัตว์ทะเลหายาก ซึ่งมีจุดเริ่มต้นภายใต้ชื่อกลุ่มอนุรักษ์เต่าตั้งแต่ปี 2533 ที่มีนายสมบัติ แซ่อิ่ว (ป๋าเฉ่ง) เป็นผู้ริเริ่มด้วยการซื้อไข่เต่ามาเพาะฟักด้วยทุนส่วนตัว เพื่อให้เต่าเติบโตอย่างสมบูรณ์แล้วปล่อยลงทะเล แต่หลังจากปี 2540 มีแก้กฎหมายอวนลาก ให้เรือลากอวนสามารถเข้ามาใกล้ฝั่งมากกว่าเดิม

Wichai Takarnkit (Noom) Head of Reserved Marine Lives Conservation Center

Khun Wichai, or “Noom” has been head of Reserved Marine Lives Conservation Center for 4 years. The center was found in 1990 by Mr. Sombat Sae Iew (Pa Cheng) who initiated buying turtle eggs with his own money to protect turtle babies from natural or human risks until they’re strong enough then to release them to the sea. In 1997, there was correction of trawling law that expands trawling area for boats much closer to the shores, which causes danger to turtles laying eggs on the beach.

Kamolwat Napadolrungrueang (Chalee), manager at The Mai Khao Marine Turtle Foundation

Khun Chalee is from Bangkok. Before Phuket, he’s been a marine biologist in Phi Phi, and then 2 years in Maldives where he took care of multiple kinds of sea animals such as sharks, rays, and turtles. As he prefers to stay away from big city life, when manager position at Tha Mai Khao Marine Turtle Foundation was open, it was the right choice since his experience fits the job and his wife is from Krabi, so he’s familiar with southern people’s way of living.

กมลวัฒน์ นภดลรุ่งเรือง (ชาลี) ผู้จัดการมูลนิธิเพื่อการอนุรักษ์เต่าทะเลหาดไม้ขาว

คุณชาร์ลีเป็นคนกรุงเทพ ก่อนมาเป็นผู้จัดการที่มูลนิธิเพื่อการอนุรักษ์เต่าทะเลหาดไม้ขาว เคยทำงานเป็นนักวิทยาศาสตร์ทางทะเลที่เกาะพีพี และไปอยู่ที่มัลดีฟเป็นเวลา 2 ปี ซึ่งตอนนี้ดูแลสัตว์น้ำหลายชนิด ทั้งฉลาม กระเบน ประการัง และเต่า การย้ายมาประจำอยู่ที่ภูเก็ตไม่มีปัญหาด้านการปรับตัวใดๆ เพราะไม่ชอบอยู่ที่กรุงเทพฯ อยู่แล้ว และมีภรรยาเป็นคนกระบี่ แม้จะยังแหลงใต้ไม่ได้แต่ก็ฟังเข้าใจ สามารถสื่อสารกับคนในพื้นที่ได้อย่างไม่มีปัญหา